วิจัยกรุงศรี THINGS TO KNOW BEFORE YOU BUY

วิจัยกรุงศรี Things To Know Before You Buy

วิจัยกรุงศรี Things To Know Before You Buy

Blog Article

วิจัยกรุงศรีวิเคราะห์เศรษฐกิจไทยไปต่ออย่างไร ท่ามกลางแรงกดดันเงินเฟ้อและฟื้นตัวไม่เท่าเทียม

วิจัยกรุงศรีชี้เศรษฐกิจฟื้นตัวเปราะบาง เงินเฟ้อกดกำลังซื้อ ค่าจ้างทุกกลุ่มรายได้ต่ำกว่าก่อนโควิด

จากมาตรการทั้งหมดที่กล่าวไปข้างต้น วิจัยกรุงศรีมองว่า มาตรการเพิ่มการจ้างงานและมาตรการกระตุ้นการลงทุนในอุตสาหกรรมการผลิต มีประสิทธิภาพมากที่สุด เนื่องจากช่วยเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงตลาดแรงงานของแรงงานทักษะต่ำและยังช่วยลดทอนผลกระทบจากรายได้ครัวเรือนที่ลดลง ขณะที่มาตรการขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ ไม่สามารถทำให้ค่าจ้างแท้จริงของแรงงานเพิ่มขึ้นได้เท่ากับอัตราค่าแรงขั้นต่ำที่เพิ่มขึ้นจริง ทั้งยังทำให้ผู้ประกอบการมีต้นทุนสูงขึ้น อัตราเงินเฟ้อเพิ่มขึ้นและก่อให้เกิดผลทางลบต่อเศรษฐกิจ

อย่างไรก็ตาม การระบาดใหญ่ในประเทศระลอกใหม่ ซึ่งสถานการณ์เลวร้ายลงและยาวนานกว่าที่คาดไว้ กำลังส่งผลให้การเปิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจในประเทศชะลอออกไปอีกครั้ง รวมทั้งถ่วงภาคบริการ และมีผลต่อความเชื่อมั่น ท่ามกลางแรงสนับสนุนที่จำกัดจากนโยบายการคลังและการเงิน

'ก่อแก้ว' เลื่อนลำดับเป็น สส.บัญชีราชื่อ แทน 'สุดาวรรณ'

วิจัยกรุงศรี ชี้ “บาทแข็ง” บั่นทอนส่งออก กัดกร่อนเศรษฐกิจระยะยาว

“ดังนั้นการฟื้นตัวจึงไม่กระจายและฟื้นไม่เท่ากัน มีทั้งผู้ที่ฟื้นได้เร็วและผู้ที่ฟื้นตัวได้ช้า โดยรวมการฟื้นตัวในประเทศค่อยเป็นค่อยไป อย่างไรก็ตามถือว่าการเติบโตทางเศรษฐกิจของไทยมีเสถียรภาพ แต่ไม่ทั่วถึง”

ความต้องการใช้บริการมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ผลจาก

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ

ภาคส่วนที่มีศักยภาพในการสร้างคาร์บอนเครดิตสูง

การเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างของเศรษฐกิจโลก…มีผลต่อทิศทางธุรกิจ/อุตสาหกรรมในระยะข้างหน้า

วิจัยกรุงศรีมองว่า แม้มาตรการเพิ่มค่าแรงขั้นต่ำจะทำให้รายได้ที่แท้จริงของแรงงานในบางอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น แต่กลับเพิ่มเป็นสัดส่วนน้อยกว่าค่าแรงขั้นต่ำที่เพิ่มขึ้น และการเพิ่มค่าแรงขั้นต่ำโดยที่ผลิตภาพของแรงงานไม่ได้เพิ่มตามไปด้วย จะยิ่งเป็นการสร้างต้นทุนเพิ่มเติมให้แก่ภาคธุรกิจมากกว่าสร้างประโยชน์ต่อผลผลิตโดยรวม อีกทั้งอัตราเงินเฟ้อที่เพิ่มขึ้นตามค่าแรง จะซ้ำเติมปัญหาเงินเฟ้อให้แก่ภาคครัวเรือนและส่งผลให้การฟื้นตัวอย่างไม่เท่าเทียมในระบบเศรษฐกิจมีความรุนแรงมากขึ้น

“ชวลิต” ทีมกรุ๊ป วิจัยกรุงศรี ชี้ไทยพ้นวิกฤติเอลนีโญ “ร้อนมากแต่ไม่แล้ง” เข้าสู่ ลานีญา ฝนมากน้ำมาก

“ปัจจัยดังกล่าว เพิ่มโอกาสที่ธนาคารแห่งประเทศไทย จะเริ่มปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลง ตั้งแต่ช่วงกลางปีเป็นต้นไป เพื่อสนับสนุนให้การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจมีความต่อเนื่อง” บทวิเคราะห์ ระบุ

Report this page